Not known Facts About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

วินิจ ผาเจริญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภัทรชัย อุทาพันธ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน กรวิทย์ เกาะกลาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี สุรชัย พุดชู นักวิชาการอิสระ บทคัดย่อ

) ซึ่งกลุ่มยากจนพิเศษเหล่านี้เป็นกลุ่มเสี่ยง “หลุดจากระบบการศึกษา”

งบประมาณ ทุกวันนี้การจัดสรรงบประมาณแก่โรงเรียนเป็นการให้ตามรายหัว ถ้ามีนักเรียนเยอะก็ได้เงินเยอะ ถ้ามีนักเรียนน้อยก็ได้น้อย ทั้งที่โรงเรียนขนาดเล็กมีปัญหาหนักกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่เสียด้วยซ้ำ เช่น มีนักเรียนยากจนมากกว่า โอกาสในการระดมทรัพยากรก็ยากกว่า ยิ่งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล การซ่อม สร้าง ปรับปรุงโรงเรียนยิ่งยากลำบากและมีต้นทุนสูง ทั้งค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายของแรงงาน หากรัฐยังคงวางแผนงบประมาณเช่นเดิม หรือเลือกให้อย่างเท่าเทียมกันทั้งประเทศ จะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณจึงควรมอบให้โรงเรียนที่มีเด็กยากจน และประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรเสียก่อน

ก็เป็นความเสี่ยงสูงที่ทำให้เด็กหลุดจากระบบการศึกษาได้

“ที่ผมสนใจทำเรื่องนี้ เพราะตระหนักถึงปัญหานี้มาโดยตลอดชีวิตการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ยากลำบากในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือพื้นที่ใกล้เมืองอย่างจังหวัดนครนายก ล้วนประสบปัญหาความเหลื่อมล้ำ แต่อาจจะแตกต่างในมิติที่มาของปัญหาที่มีรายละเอียดแตกต่างกันออกไป ตอนมาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายกซึ่งเป็นช่วงสามปีสุดท้ายของชีวิตราชการที่แอบคิดว่าจะสบายๆ แต่สุดท้ายเราพบว่าในจังหวัดมีแม่วัยใสและเด็กเดินยา มีปัญหาพ่อแม่แยกทางจำนวนมาก

มาตรการการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจากรัฐบาล เป็นการออกนโยบายเพื่อเข้ามาช่วยเหลือดูแลให้เด็ก และเยาวชนมีโอกาสได้รับสิทธิ และเสรีภาพที่จะได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น มีนโยบายการกำหนดให้เด็ก และเยาวชนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการสนับสนุนค่าเล่าเรียนให้แก่นักเรียน เป็นต้น อีกทั้งปัจจุบันภาครัฐยังมีการสนับสนุน และดูแลให้โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล สามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้อย่างเท่าเทียมกับโรงเรียนในพื้นที่เขตเมือง โดยมีการช่วยเหลือในการจัดหาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และการติดตั้งสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพื่อทำให้ขอบข่ายการเรียนรู้ขยายกว้าง และมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น 

ผู้ว่าราชการท่านมาแล้วก็ไป สุดท้ายคนที่จะต้องลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาร่วมกันก็ต้องเป็นคนในจังหวัดนั้นๆ”

สังคมไทยยังคงเป็นสังคมที่ให้ความสำคัญ และให้คุณค่ากับการเรียนการสอนในเชิงทักษะทางด้านวิชาการมากกว่าทักษะทางด้านสังคม รวมถึงระยะเวลาที่ยาวนานในการเล่าเรียน จึงทำให้เยาวชนขาดทักษะทางด้านสังคม ขาดการเรียนรู้เพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิต และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน ทำให้แม้ว่าจะมีความรู้ และทักษะที่ดีในเชิงวิชาการ แต่กลับไม่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

บทเพลงจาก “พลังของผีเสื้อ”เรื่องราวดนตรีเปลี่ยนชีวิตและความเชื่อว่า “โลกใบนี้ยังมีพื้นที่เรียนรู้สำหรับเด็กทุกคน”

This cookie identifies the source ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา of traffic to the site - so Google Analytics can tell site owners exactly where visitors arrived from when arriving on the site. The cookie contains a everyday living span of six months which is up to date whenever facts is distributed to Google Analytics.

การที่มีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะแก่การศึกษา การสนับสนุนของครอบครัวไม่เอื้ออำนวย หรือการขาดคุณภาพชีวิตที่ดี ส่งผลให้เด็ก และเยาวชนไทยบางส่วนถูกผลักให้ออกไปจากระบบการศึกษา ขาดการเรียนรู้ในวิชาชีพ การเรียนรู้ทางสังคม หรือการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ทำให้เด็ก และเยาวชนบางรายกลายเป็นประชากรที่ไร้คุณภาพ นำไปสู่การเกิดปัญหาสังคม และปัญหาอาชญากรรมตามมา

บทสรุปของชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์ และคณะ หลังผ่านการศึกษาวิจัย ลงพื้นที่ และประมวลผลหลากหลายขั้นตอน คือการกลับมาประเมินจำนวนนักเรียนยากจน ‘ที่แท้จริง’ ทั่วทั้งประเทศในระบบฐานข้อมูลของสพฐ.

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ และความก้าวหน้าของสังคมไทยในหลากหลายประการ ดังนี้

กฎหมายและการกำกับดูแล การปฏิรูปกฎหมาย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *